คุณมีอาการแบบนี้หรือเปล่าคะ

⚠ หน้าบวม เท้าบวม
⚠ ปัสสาวะมีฟอง มีเลือดปน
⚠ ปัสสาวะบ่อย โดยเฉพาะกลางคืน
⚠ ปัสสาวะน้อยลง
⚠ ปวดบั้นเอวหรือสีข้าง
⚠ ความดันโลหิตสูง
⚠ ผิวซีดหรือคล้ำขึ้น
⚠ เบื่ออาหาร คลื่นไส้ อาเจียน
⚠ ปลายมือปลายเท้าชา
⚠ กล้ามเนื้อกระตุก

คุณมีอาการแบบนี้หรือเปล่าคะ

⚠ หน้าบวม เท้าบวม
⚠ ปัสสาวะมีฟอง มีเลือดปน
⚠ ปัสสาวะบ่อย โดยเฉพาะกลางคืน
⚠ ปัสสาวะน้อยลง
⚠ ปวดบั้นเอวหรือสีข้าง
⚠ ความดันโลหิตสูง
⚠ ผิวซีดหรือคล้ำขึ้น
⚠ เบื่ออาหาร คลื่นไส้ อาเจียน
⚠ ปลายมือปลายเท้าชา
⚠ กล้ามเนื้อกระตุก

⚠ หน้าบวม เท้าบวม
⚠ ปัสสาวะมีฟอง มีเลือดปน
⚠ ปัสสาวะบ่อย โดยเฉพาะกลางคืน
⚠ ปัสสาวะน้อยลง
⚠ ปวดบั้นเอวหรือสีข้าง
⚠ ความดันโลหิตสูง
⚠ ผิวซีดหรือคล้ำขึ้น
⚠ เบื่ออาหาร คลื่นไส้ อาเจียน
⚠ ปลายมือปลายเท้าชา
⚠ กล้ามเนื้อกระตุก

หากคุณมีอาการเหล่านี้
แสดงว่าไตของคุณเริ่มเสื่อมแล้วนะ

หากคุณมีอาการเหล่านี้
แสดงว่าไตของคุณเริ่มเสื่อมแล้ว

ไต ทำหน้าที่เป็นเครื่องกรองและกำจัดของเสียออกจากร่างกาย ทั้งยังคุมสมดุลน้ำ เกลือแร่ ความเป็นกรด-ด่าง ให้ร่างกายทำงานได้ปกติ

ไต มีหน้าที่กำจัดของเสีย ควบคุมความเป็นกรด-ด่างในกระแสเลือด คุมสมดุลเกลือแร่ และควบคุมปริมาณน้ำในร่างกาย

หากไตทำงานได้ไม่เต็มที่ จะทำให้เกิดภาวะเลือดจางและขาดวิตามิน

แต่ถ้าไตทำงานไม่ได้เลย ร่างกายจะไม่สามารถขับของเสีย จำเป็นต้องฟอกไต ซึ่งมีค่าใช้จ่ายสูง

หากไตเสื่อมรุนแรงจนหยุดทำงาน ร่างกายไม่สามารถกำจัดของเสีย น้ำ และเกลือแร่ที่คั่งได้ จนร่างกายเสียสมดุล และนำไปสู่การเสียชีวิตได้

ไตเป็นอวัยวะที่ไม่สามารถซ่อมแซมตัวเองให้กลับมาสมบูรณ์ได้ ดังนั้นเราควรถนอมไตให้ดีที่สุด

คุณมีอาการแบบนี้หรือเปล่าคะ

⚠ หน้าบวม เท้าบวม
⚠ ปัสสาวะมีฟอง มีเลือดปน
⚠ ปัสสาวะบ่อย โดยเฉพาะกลางคืน
⚠ ปัสสาวะน้อยลง
⚠ ปวดบั้นเอวหรือสีข้าง
⚠ ความดันโลหิตสูง
⚠ ผิวซีดหรือคล้ำขึ้น
⚠ เบื่ออาหาร คลื่นไส้ อาเจียน
⚠ ปลายมือปลายเท้าชา
⚠ กล้ามเนื้อกระตุก

⚠ หน้าบวม เท้าบวม
⚠ ปัสสาวะมีฟอง มีเลือดปน
⚠ ปัสสาวะบ่อย โดยเฉพาะกลางคืน
⚠ ปัสสาวะน้อยลง
⚠ ปวดบั้นเอวหรือสีข้าง
⚠ ความดันโลหิตสูง
⚠ ผิวซีดหรือคล้ำขึ้น
⚠ เบื่ออาหาร คลื่นไส้ อาเจียน
⚠ ปลายมือปลายเท้าชา
⚠ กล้ามเนื้อกระตุก

หากคุณมีอาการเหล่านี้
แสดงว่าไตของคุณเริ่มเสื่อมแล้ว

หากคุณมีอาการเหล่านี้
แสดงว่าไตของคุณเริ่มเสื่อมแล้วนะ

ไต มีหน้าที่กำจัดของเสีย ควบคุมความเป็นกรด-ด่างในกระแสเลือด คุมสมดุลเกลือแร่ และควบคุมปริมาณน้ำในร่างกาย

ไต ทำหน้าที่เป็นเครื่องกรองและกำจัดของเสียออกจากร่างกาย ทั้งยังคุมสมดุลน้ำ เกลือแร่ ความเป็นกรด-ด่าง ให้ร่างกายทำงานได้ปกติ

หากไตเสื่อมรุนแรงจนหยุดทำงาน ร่างกายไม่สามารถกำจัดของเสีย น้ำ และเกลือแร่ที่คั่งได้ จนร่างกายเสียสมดุล และนำไปสู่การเสียชีวิตได้

หากไตทำงานได้ไม่เต็มที่ จะทำให้เกิดภาวะเลือดจางและขาดวิตามิน

แต่ถ้าไตทำงานไม่ได้เลย ร่างกายจะไม่สามารถขับของเสีย จำเป็นต้องฟอกไต ซึ่งมีค่าใช้จ่ายสูง

ไตเป็นอวัยวะที่ไม่สามารถซ่อมแซมตัวเองให้กลับมาสมบูรณ์ได้ ดังนั้นเราควรถนอมไตให้ดีที่สุด

ไตวาย เกิดได้สองกรณี

  1. ไตวายเฉียบพลัน คือไตสูญเสียการทำงานอย่างรวดเร็ว มีโอกาสที่ไตจะกลับมาเป็นปกติได้ หากรักษาได้ทัน สาเหตุของไตวายเฉียบพลัน เช่นติดเชื้อในเลือด โรคระบบทางเดินปัสสาวะ ได้รับสารพิษ ผลข้างเคียงจากยา  รวมถึงป่วยหนักจากโรคต่างๆ
  2. ไตวายเรื้อรัง หรือ ไตเสื่อมเรื้อรัง เป็นภาวะที่ไตเสื่อมถอย สาเหตุหลักเกิดจาก โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคอ้วน และจากโรคไตอื่นๆเช่น ไตอักเสบ โรคถุงน้ำในไต โอกาสที่จะฟื้นเป็นปกติน้อยมาก แต่ชะลอการเสื่อมได้ โดยการกินอาหารที่ไม่ทำให้ไตทำงานหนัก มีคนจำนวนไม่น้อยที่คุมอาหารได้ดี สามารถชะลอความเสื่อมไต และอยู่ได้โดยไม่ต้องฟอกไตอีกหลายปี

กว่าจะรู้ตัวว่าไตเสื่อม ก็เมื่อการทำงานของไตลดลงไปมาก

เพราะช่วงแรกมักไม่แสดงอาการ หากไตเสื่อมจนแทบไม่ทำงาน ก็จำเป็นต้องฟอกไต เพื่อกำจัดของเสีย และ น้ำส่วนเกินออกจากร่างกาย ซึ่งคือการที่เรานำเลือดมาฟอกด้วยเครื่องไตเทียมนั่นเอง

ไตวาย เกิดได้สองกรณี

  1. ไตวายเฉียบพลัน คือไตสูญเสียการทำงานอย่างรวดเร็ว มีโอกาสที่ไตจะกลับมาเป็นปกติได้ หากรักษาได้ทัน สาเหตุของไตวายเฉียบพลัน เช่นติดเชื้อในเลือด โรคระบบทางเดินปัสสาวะ ได้รับสารพิษ ผลข้างเคียงจากยา  รวมถึงป่วยหนักจากโรคต่างๆ
  2. ไตวายเรื้อรัง หรือ ไตเสื่อมเรื้อรัง เป็นภาวะที่ไตเสื่อมถอย สาเหตุหลักเกิดจาก โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคอ้วน และจากโรคไตอื่นๆเช่น ไตอักเสบ โรคถุงน้ำในไต โอกาสที่จะฟื้นเป็นปกติน้อยมาก แต่ชะลอการเสื่อมได้ โดยการกินอาหารที่ไม่ทำให้ไตทำงานหนัก มีคนจำนวนไม่น้อยที่คุมอาหารได้ดี สามารถชะลอความเสื่อมไต และอยู่ได้โดยไม่ต้องฟอกไตอีกหลายปี

กว่าจะรู้ตัวว่าไตเสื่อม ก็เมื่อการทำงานของไตลดลงไปมาก

เพราะช่วงแรกมักไม่แสดงอาการ หากไตเสื่อมจนแทบไม่ทำงาน ก็จำเป็นต้องฟอกไต เพื่อกำจัดของเสีย และ น้ำส่วนเกินออกจากร่างกาย ซึ่งคือการที่เรานำเลือดมาฟอกด้วยเครื่องไตเทียมนั่นเอง

รู้ให้ไวก่อนไตเสื่อม ด้วยการตรวจปัสสาวะ

รู้ให้ไวก่อนไตเสื่อม ด้วยการตรวจปัสสาวะ

กินอย่างไร ชะลอไตเสื่อม

อาหารสำหรับคนเป็นโรคไตเรื้อรังแต่ละคนแตกต่างกัน เพราะผู้เป็นไตเสื่อมแต่ละขั้น จะมีปัญหาโภชนาการที่แตกต่างกัน การกินที่เหมาะสมจึงต้องกินให้เหมาะกับระยะของตนเอง และสอดคล้องกับภาวะสุขภาพ

กินอย่างไร ชะลอไตเสื่อม

อาหารสำหรับคนเป็นโรคไตเรื้อรังแต่ละคนแตกต่างกัน เพราะผู้เป็นไตเสื่อมแต่ละขั้น จะมีปัญหาโภชนาการที่แตกต่างกัน การกินที่เหมาะสมจึงต้องกินให้เหมาะกับระยะของตนเอง และสอดคล้องกับภาวะสุขภาพ

ข้อแนะนำด้านโภชนาการโดยทั่วไป สำหรับผู้เป็นไตเสื่อมเรื้อรัง

  1. กินอาหารที่ให้พลังงานให้เพียงพอ 
  2. เลือกกินไขมันที่ดีต่อหัวใจและหลอดเลือด กรดไขมันโอเมก้า3,9
  3. กินโปรตีน ปริมาณให้พอเหมาะกับระยะโรคไต เลือกกินชนิดโปรตีนที่คุณภาพสูง เช่น ปลา ไข่ขาว นม ยกเว้นคนที่มีปัญหาฟอสฟอรัสสูง ที่อาจต้องจำกัดนม
  4. หลีกเลี่ยงอาหารสำเร็จรูป เพราะมักมีโซเดียม และ ฟอสฟอรัสสูง
  5. ผักผลไม้กินได้ โดยดูให้เหมาะกับค่าเลือด หลีกเลี่ยงผักใบเขียว พืชหัว ถั่วเมล็ด ผลไม้บางชนิด หากค่าเลือดมีโพแทสเซียมและฟอสฟอรัสสะสมสูง
  6. ดื่มน้ำได้ปกติ หากแพทย์ไม่สั่งจำกัดปริมาณน้ำ
  7. หากต้องการลดโซเดียม ให้ใช้การลดปริมาณเครื่องปรุงเป็นหลัก
  8. ไม่ควรใช้เครื่องปรุงโซเดียมต่ำ ที่ให้เกลือโพแทสเซียมทดแทน
  9. อ่านฉลากโภชนาการของอาหาร และ เครื่องปรุง เพื่อให้รู้ว่าสามารถกินได้ปริมาณเท่าไหร่ 
  10. หากเบื่ออาหาร ลองสรรหาเมนูแปลกใหม่ และอาจเสริมมื้ออาหารด้วยของว่างที่มีโภชนาการที่เหมาะสมกับสุขภาพไต

*การรับประทานอาหารสำหรับผู้เป็นไตวายเรื้อรัง ดีที่สุดควรกินตามคำแนะนำของแพทย์และนักกำหนดอาหาร โดยดูผลเลือดประกอบ ดังนั้นแม้เป็นระยะเดียวกัน ก็อาจมีข้อจำกัดอาหารที่ต่างกันได้

ข้อแนะนำด้านโภชนาการโดยทั่วไป สำหรับผู้เป็นไตเสื่อมเรื้อรัง

  1. กินอาหารที่ให้พลังงานให้เพียงพอ 
  2. เลือกกินไขมันที่ดีต่อหัวใจและหลอดเลือด กรดไขมันโอเมก้า3,9
  3. กินโปรตีน ปริมาณให้พอเหมาะกับระยะโรคไต เลือกกินชนิดโปรตีนที่คุณภาพสูง เช่น ปลา ไข่ขาว นม ยกเว้นคนที่มีปัญหาฟอสฟอรัสสูง ที่อาจต้องจำกัดนม
  4. หลีกเลี่ยงอาหารสำเร็จรูป เพราะมักมีโซเดียม และ ฟอสฟอรัสสูง
  5. ผักผลไม้กินได้ โดยดูให้เหมาะกับค่าเลือด หลีกเลี่ยงผักใบเขียว พืชหัว ถั่วเมล็ด ผลไม้บางชนิด หากค่าเลือดมีโพแทสเซียมและฟอสฟอรัสสะสมสูง
  6. ดื่มน้ำได้ปกติ หากแพทย์ไม่สั่งจำกัดปริมาณน้ำ
  7. หากต้องการลดโซเดียม ให้ใช้การลดปริมาณเครื่องปรุงเป็นหลัก
  8. ไม่ควรใช้เครื่องปรุงโซเดียมต่ำ ที่ให้เกลือโพแทสเซียมทดแทน
  9. อ่านฉลากโภชนาการของอาหาร และ เครื่องปรุง เพื่อให้รู้ว่าสามารถกินได้ปริมาณเท่าไหร่ 
  10. หากเบื่ออาหาร ลองสรรหาเมนูแปลกใหม่ และอาจเสริมมื้ออาหารด้วยของว่างที่มีโภชนาการที่เหมาะสมกับสุขภาพไต

*การรับประทานอาหารสำหรับผู้เป็นไตวายเรื้อรัง ดีที่สุดควรกินตามคำแนะนำของแพทย์และนักกำหนดอาหาร โดยดูผลเลือดประกอบ ดังนั้นแม้เป็นระยะเดียวกัน ก็อาจมีข้อจำกัดอาหารที่ต่างกันได้

ไตเสื่อมเรื้อรัง เบื่ออาหาร อยากกินขนม

ขอแนะนำ สเตดี้พลัส
สแน็คโภชนาการ คุมสารอาหารและแร่ธาตุ

สเตดี้พลัส ทางออกของคนไม่อยากเหวี่ยง

1 คาร์บ คุมน้ำตาลระหว่างวัน โซเดียมต่ำ โพแทสเซียมต่ำ

สเตดี้พลัส ทางออกของคนไม่อยากเหวี่ยง

ไตเสื่อมเรื้อรัง เบื่ออาหาร อยากกินขนม

ขอแนะนำ สเตดี้พลัส
สแน็คโภชนาการ คุมสารอาหารและแร่ธาตุ

1 คาร์บ คุมน้ำตาลระหว่างวัน โซเดียมต่ำ โพแทสเซียมต่ำ

แตกต่างที่สารอาหาร ไม่ใช่แค่วัตถุดิบ

➤ คิดค้นโดยนักวิทยาศาสตร์โภชนาการ

➤ สารอาหารคำนึงถึงสุขภาพไต

โปรตีนคุณภาพสูง มีปริมาณโปรตีนพอเหมาะ 4-5 กรัม/ซอง

ไขมันที่ดีต่อสุขภาพหัวใจ มีกรดไขมันโอเมก้า 3 และ 9 สูง คอเลสเตอรอลต่ำ ไม่มีไขมันทรานส์

โซเดียมต่ำ โพแทสเซียมต่ำ

➤ ปริมาณคาร์บ พอดีกับการคุมน้ำตาล

1 ซอง เพียง 1 คาร์บ (1 หน่วยแป้ง) พอเหมาะสำหรับการคุมน้ำตาลในเลือด ตามคำแนะนำ US Academy of Nutrition and Dietetics

➤ สะดวก ไม่ต้องกลัวกินเกิน

คำนวนมาให้แล้ว กินแค่ครั้งละ  ซอง กินได้ไม่ต้องกังวล

➤ อร่อย เป็นขนมกินเล่นได้ ไม่น่าเบื่อ

แตกต่างที่สารอาหาร
ไม่ใช่แค่วัตถุดิบ

➤ คิดค้นโดยนักวิทยาศาสตร์โภชนาการ

➤ สารอาหารคำนึงถึงสุขภาพไต

โปรตีนคุณภาพสูง มีปริมาณโปรตีนพอเหมาะ 4-5 กรัม/ซอง

ไขมันที่ดีต่อสุขภาพหัวใจ มีกรดไขมันโอเมก้า 3 และ 9 สูง คอเลสเตอรอลต่ำ ไม่มีไขมันทรานส์

โซเดียมต่ำ โพแทสเซียมต่ำ

ปริมาณคาร์บ พอดีกับการคุมน้ำตาล

1 ซอง เพียง 1 คาร์บ (1 หน่วยแป้ง) พอเหมาะสำหรับการคุมน้ำตาลในเลือด ตามคำแนะนำ US Academy of Nutrition and Dietetics

➤ สะดวก ไม่ต้องกลัวกินเกิน

คำนวณมาให้แล้ว กินแค่ครั้งละ 1 ซอง กินได้ไม่ต้องกังวล

➤ อร่อย เป็นขนมกินเล่นได้ ไม่น่าเบื่อ

อัลมอนด์บิสกิต สูตร ดูแลสุขภาพหัวใจและไต

✅ กรดไขมัน MUFA (โอเมก้า9) สูง

= ดื่มนมถั่วเหลือง 800 มล.

✅ โซเดียต่ำ

✅ โพแทสเซียมต่ำ

✅ ฟอสฟอรัสต่ำ

(อย. 10-1-11662-5-0034)
บาร์โค้ด *8857125178013

✅ กรดไขมัน MUFA (โอเมก้า9) สูง

= ดื่มนมถั่วเหลือง 800 มล.

✅ โซเดียมต่ำ

✅ โพแทสเซียมต่ำ

✅ ฟอสฟอรัสต่ำ

(อย. 10-1-11662-5-0034)
บาร์โค้ด *8857125178013

อัลมอนด์บิสกิต สูตร ดูแลสุขภาพหัวใจและไต

✅ กรดไขมัน MUFA (โอเมก้า9) สูง

= ดื่มนมถั่วเหลือง 800 มล.

✅ โซเดียมต่ำ

✅ โพแทสเซียมต่ำ

✅ ฟอสฟอรัสต่ำ

(อย. 10-1-11662-5-0034)
บาร์โค้ด *8857125178013

อัลมอนด์ไบต์ สูตรปรับสมดุลลำไส้ ช่วยขับถ่าย

✅ ใยอาหารสูงมาก ถึง 10 กรัม/ซอง

= กินสลัดผักชามใหญ่

✅ มีพรีไบโอติกส์ ช่วยให้จุลินทรีย์ที่ดีเติบโต

✅ โซเดียมต่ำ

✅ โพแทสเซียมต่ำ

✅ มีสองรส: ดาร์กช็อก และ กาแฟมอคค่า

ดาร์กช็อก
อย. 10-1-11662-5-0033
บาร์โค้ด *8857125178020

มอคค่า
อย. 10-1-11662-5-0032
บาร์โค้ด *8857125178037

✅ ใยอาหารสูงมาก ถึง 10 กรัม/ซอง

= กินสลัดผักชามใหญ่

✅ มีพรีไบโอติกส์ ช่วยให้จุลินทรีย์ที่ดีเติบโต

✅ โซเดียมต่ำ

✅ โพแทสเซียมต่ำ

✅ มีสองรส: ดาร์กช็อก และ กาแฟมอคค่า

ดาร์กช็อก
อย. 10-1-11662-5-0033
บาร์โค้ด *8857125178020

มอคค่า
อย. 10-1-11662-5-0032
บาร์โค้ด *8857125178037

“เพราะเรากำหนดสารอาหารต่อซอง จึงมั่นใจ ให้สเตดี้พลัสเป็นของว่าง อร่อย เติมความสุข แด่คนต้องคุมสารอาหาร”

แนะนำการบริโภคสเตดี้พลัสเบื้องต้น

อัลมอนด์ไบต์ สูตรปรับสมดุลลำไส้ ช่วยขับถ่าย

✅ ใยอาหารสูงมาก ถึง 10 กรัม/ซอง

= กินสลัดผักชามใหญ่

✅ มีพรีไบโอติกส์ ช่วยให้จุลินทรีย์ที่ดีเติบโต

✅ โซเดียมต่ำ

✅ โพแทสเซียมต่ำ

✅ มีสองรส: ดาร์กช็อก และ กาแฟมอคค่า

ดาร์กช็อก?
อย. 10-1-11662-5-0033
บาร์โค้ด *8857125178020

มอคค่า☕
อย. 10-1-11662-5-0032
บาร์โค้ด *8857125178037

โปรโมชั่นเฉพาะการสั่งซื้อในไลน์เท่านั้น

“เพราะเรากำหนดสารอาหารต่อซอง จึงมั่นใจ ให้สเตดี้พลัสเป็นของว่าง อร่อย เติมความสุข แด่คนต้องคุมสารอาหาร”

แนะนำการบริโภคสเตดี้พลัสเบื้องต้น

โปรโมชั่นเฉพาะการสั่งซื้อในไลน์เท่านั้น

Lazada Shopee - SteadiPlus - ติดตาม Fan Page : SteadiPlus
รับสาระสุขภาพ โภชนาการ
ข่าวสาร กิจกรรมต่าง ๆ
Facebook
- SteadiLife - เว็บไซต์ บทความสาระสุขภาพ เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพ SteadiLife

© Copyright 2016 - 2021 | NUTRINOS LIMITED - A NUTRITION SCIENCE COMPANY | ALL RIGHTS RESERVED